วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

มิติใหม่การจัดการอิสสลาม


อิบตีดาอีย์ คือ ประถม
มิติใหม่การจัดการอิสสลาม



การจัดการศึกษาในหลักสูตรอิสลามศึกษามีผู้รู้ในวงการศึกษาจำนวนมาก ที่ย่อมให้ประสบการณ์การจัดการศึกษาในแนวทางศาสนาถูกทำลายวิญญาณของศาสนาอิสลาม ปล่อยปละละเลยโดยไม่ได้รับการแก้ไข เป็นปัญหาสำหรับชนมลายูมุสลิม
ดั่งจะเห็นความไม่สมดุลของระดับการศึกษาที่กล่าวมานั้น นักเรียนที่จบ ป.6....................ในกระบวนการจัดการศึกษาของ........มลายูมุสลิม
ปี 2543 เปิดสอนระดับประถมใช้หลักสูตรอิสลามศึกษาตอนต้น 3ปี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 หรือ อิบตีดาอีย์ 1- อิบตีดาอีย์ 3 ต้องมาเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ปีที่ 5 ปีที่6 เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตรอิสลาม 2540 ทางโรงเรียน........ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ปี2546 คลอดหลักสูตรอิสลามศึกษา 2546 มีระบบ 6-3-3 เปลี่ยนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อ ปี 2546 ได้นำหลักสูตรอิสลามศึกษามาวิเคราะห์จัดทำแบบเรียนเพื่อให้สอดคล้องแต่ละช่วงชั้น และสามารถเชื่อมโยง นักเรียนที่เรียนหลักสูตรนี้ในระดับ มูตาวัชซีเตาะห์ หรือ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้แล้ว.......... เดือนเมษา 2547 ได้จัดทำหนังสือแบบเรียนได้ช่วงชั้นสำหรับนักเรียน ประถมศึกษาปีที่ 1-6 หลักสูตรอิสลามศึกษาเป็นวิชาศาสนา ที่ประกอบ อัลกุรอาน , ตัฟซีร ,อากีดะห์, ฮาดิส ,ฟิกช์, ภาษามลายู ,ภาษาอาหรับ, และซีเราะห์ เป็นต้น
มิติให้การจัดการศึกษาแนวทางนี้ สำหรับนักเรียน 1 คน สามารถเรียน 2 หลักสูตร จบแล้วได้ประกาศนียบัตร 2 ใบ และนักเรียนสามารถมีพื้นฐานด้านภาษา 4 ภาษา คือ หลักสูตรแกนกลางต้องเรียน 2 ภาษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสำหรับหลักสูตรอิสลามนั้น ต้องเรียน คือภาษามลายู และภาษาอาหรับในการศึกษาของรัฐ เป็น ปอเนาะจัดการศึกษาระดับประถมได้ หรือ? แน่นอน เราเป็นโรงเรียน เอกชน เราเองได้ตระหนักอยู่เสมอว่ากลัวเด็กอ่านไม่ได้ แต่ตลอด เวลาจัดการ เรียนการสอน 10 ำมาสอนควบคู่ หลักสูตรสามัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นการนำหลักจิตวิทยา การศึกษาอย่างร้ายแรปีผ่านมาหากเข้าประกวดแข่งขันทักษะภาษาไทย เราเองก็ไม่ด้อยกว่าใคร สามารถดูได้จากผลการประกวดระดับกลุ่ม ระดับจังหวัด


ส่วนภาษามลายูนั้น เป็นภาษาที่ต้องทำสำหรับโรงเรียนเอกชนศาสนา เด็กจบไปแล้วชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 นอกจากจะอ่านภาษาไทยได้คล่องแล้ว เด็กจะต้องอ่านภาษามลายูได้คล่องด้วย



1 ความคิดเห็น: