วันศุกร์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2554

ค่ายถาคฤดูร้อน"เสริมทักษะภาษา


โรงเรียนอาลาวียะห์วิทยาแผนกประถม จัดกิจกรรมเพื่อเสริมทักษะเด็กนักเรียนระดับประถม และเพื่อให้รู้จักใช้เวลาว่างในช่วงปิดภาคเรียนที่จะมาถึง
โรงเรียนอาลาวียะห์วิทยาแผนกประถม จัดกิจกรรมเพื่อเสริมทักษะเด็กนักเรียนระดับประถม และเพื่อให้รู้จักใช้เวลาว่างในช่วงปิดภาคเรียนที่จะมาถึง
นางนูร์ยีล้น บิลหะยีอาบูบากา รองผู้อำนวยการแผนกประถมโรงเรียนอาลาวียะห์วิทยากล่าวว่า"กิจกรรมในครั้งนี้เพื่อเพิ่มทักษะการพัฒนาด้านภาษา จะมีภาษาอังกฤษ อาหรับ มลายู(บาฮาซา)และภาษาไทย โดยได้ร่วมมือกับนักศึกษาเอกภาษาอังกฤษมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา จำนวน 20 กว่าคน จัดกิจกรรมเรียนอย่างมีความสุข บนหลักการจริยธรรศาสนาอิสลาม"
"กิจกรรมจะเน้นเล่น และนักเรียนต้องมาพักกินนอนร่วมกัน ที่โรงเรียน จะรับเฉพาะเด็กที่เรียนอยู่ระดับ ป.2-ป.6 อายุ ไม่เกิน 12 ปี การจัดการเรียนการสอนกิจกรรมเป็นชั้นเรียนบมเรียนจะเน้นเนื่อหาวิชาแต่ละชั้นเป็นการเรียนล่วงหน้าหรือทบท่วนบทเรียนที่ผ่านมา จะรับเด็กจะโรงเรียนอื่นก็สามารถเข้าร่วมได้ โดยจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 3-25 เมายน 2554 ณ โรงเรียนอาลาวียะห์วิทยาแผนกประถม"
การจัดกิจกรรมช่วงปิดภาคเรียนนี้ นับเป็นโอกาสดีสำหรับพ่อแม่ที่มีบุตรหลานสนใจที่ส่งลูกเข้าร่วมกิจกรรม หากต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่ โทร 087-2968372 / 0864803614 / 0862874112

วันพุธที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2553

รางวัลเล็กๆก็ยังดี กำลังใจสำหรับความพยายามและความตั้งใจ



รางวัลดเล็ก ๆ ก็ยังดี สำหรับคนที่พยายาม

แม้นไม่ใช่ดวงดาว แต่ส่อถึงความตั้งใจของเราผู้บริหารและครู สร้างคนด้วยการศึกษา พัฒนาคนด้วนการศรัทธา

“เราได้ทำการศึกษาเพื่อเด็ก ผลก็ทำให้เด็กได้รับการศึกษาคุณภาพของการเรียนการสอนต้องพัฒนาดีขึ้น”นายมูฮำมีด
เมื่อวันที่ 3 กันยายนที่ผ่านมา ได้มีพิธีมอบรางวัลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-net) โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จัดขึ้นเมื่อวันที่ 3 กันยายนแ 2553 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพมหานคร
พณ ชินวรณ์ บุญยเกียรติ รมต.กระทรวงศึกษาธิการ ได้กล่าวในโอกาสมอบ ให้กับโรงเรียนที่มึผลสัมฤทธ์ทุกสาระการเรียนรู้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 และท่านได้กล่าวว่า”โรงเรียนเอกชนได้เกิดมานานและได้จัดการศึกษาแบ่งเบาภาระของรัฐบาล”
“ถือว่าเป็นความพยายามของผม ให้สู่ความเป็นจริง การที่จะให้เยาวชนบรรลุเป้าหมายผลสัมฤทธิ์จะถึงเกณฑ์แล้ว เด็กต้องมีใฝ่ดี ใฝ่รู้ คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น ....... ปัจจุบันการศึกษา การมีความรู้ต้องคู่ความดี เด็กมีผลสัมฤทธิ์ดีด้านการเรียน และต้องมีผลสัมฤทธิ์ด้านอื่นด้วย”
จากนั้นทางโรงเรียนอาลาวียะห์วิทยา แผนกประถม เป็นโรงเรียนหนึ่งในจังหวัดยะลาที่ได้รับรางวัลด้านความก้าวหน้า และมีการพัฒนา ซึ่งเป็นการบ่งบอกว่าผลของเด็กนั้น ขึ้นกับผลการสอนของครู และมาจากผลการจัดการบริหารของฝ่ายบริหาร
นายมูฮำมัด บิลหะยีอาบูบากาประธานมูลนิธิอาบูบักร์ ผู้รับใบอนุญาตกล่าวว่า “การได้รับรางวัล .เป็นตัวชี้วัดว่า โรงเรียนได้สร้างความพยายามให้การจัดการเรียนการสอนให้กับเด็ก ซึ่งเป็นสิ่งที่ยากหลายเท่าสำหรับเด็กในชนบทในพื้นที่สามจังหวัดที่มีวัฒนธรรมวิถีชีวิตที่แตกต่างกันกับเด็กส่วนใหญ่ของประเทศ .”
ในการรับรางวัลในครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกของโรงเรียน ทางโรงเรียนได้รับสำหรับคะแนนที่มีการพัฒนาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีการวัดผลที่ผ่านมา ซึ่งโรงเรียนอาลาวียะห์ได้จัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาล ประถม มัธยมตัน มัธยมปลาย เป็นโรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่สีแดงของสถานการณ์ปัญหาสามจังหวัด ตั้งอยู่หมู่บ้านกาสัง ตำบลตาเนาะปูตะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา การมารับรางวัลในครั้งนี่มีโรงเรียนเอกชนจากจัวหวัดยะลา จำนวน 8-9 โรงเท่านั้น ส่วนใหญ่เป็นรางวัลระดับ ประถม และมัธยมต้น ส่วนมัธยมปลายนั้นสำหรับปีนี้ยังไม่มี
“ การใช้คะแนนโอเนทมาเป็นเกณฑ์ก็ดี สำหรับเราได้รู้และมีการพัฒนาเพียงใด สามารถเทียบเท่ากับการจัดการศึกษาทั้งประเทศ ซึ่งทางโรงเรียนเองก็ได้ศึกษาการจัดการเรียนการสอนสำหรับมลายูมุสลิมเหล่านี้ จะพัฒนาอย่างไร”
“ทางโรงเรียนคณะครูต้องทำงานหนัก เพราะโรงเรียนอาลาวียะห์วิทยาไม่เพี่ยงจัดการศึกษาเพื่อผ่านเกณพ์วัดผลของชาติเท่านั้น แต่จะต้องคำนึ่งต้องการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมความเป็นนานาชาติ ความเป็นพลโลกที่ดี และจะต้องผ่านเกณฑ์การรับรองการจัดคุณภาพการศึกษาอิสลมที่อัลลอฮ มีบันทึกว่าผ่านหรือไม่ผ่าน อันนี้สำคัญ “นามมูฮำมัดกล่าวในที่สุด

รางวัลสำหรับสร้างคน


โรงเรียนอาลาวียะห์วิทยา แผนกประถมได้รับรางวัลการพัฒนาการศึกษาคะแนน o-net ชั้น ป.6
“เราได้ทำการศึกษาเพื่อเด็ก ผลก็ทำให้เด็กได้รับการศึกษาคุณภาพของการเรียนการสอนต้องพัฒนาดีขึ้น”นายมูฮำมีด
เมื่อวันที่ 3 กันยายนที่ผ่านมา ได้มีพิธีมอบรางวัลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-net) โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จัดขึ้นเมื่อวันที่ 3 กันยายนแ 2553 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพมหานคร
พณ ชินวรณ์ บุญยเกียรติ รมต.กระทรวงศึกษาธิการ ได้กล่าวในโอกาสมอบ ให้กับโรงเรียนที่มึผลสัมฤทธ์ทุกสาระการเรียนรู้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 และท่านได้กล่าวว่า”โรงเรียนเอกชนได้เกิดมานานและได้จัดการศึกษาแบ่งเบาภาระของรัฐบาล”
“ถือว่าเป็นความพยายามของผม ให้สู่ความเป็นจริง การที่จะให้เยาวชนบรรลุเป้าหมายผลสัมฤทธิ์จะถึงเกณฑ์แล้ว เด็กต้องมีใฝ่ดี ใฝ่รู้ คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น ....... ปัจจุบันการศึกษา การมีความรู้ต้องคู่ความดี เด็กมีผลสัมฤทธิ์ดีด้านการเรียน และต้องมีผลสัมฤทธิ์ด้านอื่นด้วย”
จากนั้นทางโรงเรียนอาลาวียะห์วิทยา แผนกประถม เป็นโรงเรียนหนึ่งในจังหวัดยะลาที่ได้รับรางวัลด้านความก้าวหน้า และมีการพัฒนา ซึ่งเป็นการบ่งบอกว่าผลของเด็กนั้น ขึ้นกับผลการสอนของครู และมาจากผลการจัดการบริหารของฝ่ายบริหาร
นายมูฮำมัด บิลหะยีอาบูบากาประธานมูลนิธิอาบูบักร์ ผู้รับใบอนุญาตกล่าวว่า “การได้รับรางวัล .เป็นตัวชี้วัดว่า โรงเรียนได้สร้างความพยายามให้การจัดการเรียนการสอนให้กับเด็ก ซึ่งเป็นสิ่งที่ยากหลายเท่าสำหรับเด็กในชนบทในพื้นที่สามจังหวัดที่มีวัฒนธรรมวิถีชีวิตที่แตกต่างกันกับเด็กส่วนใหญ่ของประเทศ .”
ในการรับรางวัลในครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกของโรงเรียน ทางโรงเรียนได้รับสำหรับคะแนนที่มีการพัฒนาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีการวัดผลที่ผ่านมา ซึ่งโรงเรียนอาลาวียะห์ได้จัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาล ประถม มัธยมตัน มัธยมปลาย เป็นโรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่สีแดงของสถานการณ์ปัญหาสามจังหวัด ตั้งอยู่หมู่บ้านกาสัง ตำบลตาเนาะปูตะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา การมารับรางวัลในครั้งนี่มีโรงเรียนเอกชนจากจัวหวัดยะลา จำนวน 8-9 โรงเท่านั้น ส่วนใหญ่เป็นรางวัลระดับ ประถม และมัธยมต้น ส่วนมัธยมปลายนั้นสำหรับปีนี้ยังไม่มี
“ การใช้คะแนนโอเนทมาเป็นเกณฑ์ก็ดี สำหรับเราได้รู้และมีการพัฒนาเพียงใด สามารถเทียบเท่ากับการจัดการศึกษาทั้งประเทศ ซึ่งทางโรงเรียนเองก็ได้ศึกษาการจัดการเรียนการสอนสำหรับมลายูมุสลิมเหล่านี้ จะพัฒนาอย่างไร”
“ทางโรงเรียนคณะครูต้องทำงานหนัก เพราะโรงเรียนอาลาวียะห์วิทยาไม่เพี่ยงจัดการศึกษาเพื่อผ่านเกณพ์วัดผลของชาติเท่านั้น แต่จะต้องคำนึ่งต้องการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมความเป็นนานาชาติ ความเป็นพลโลกที่ดี และจะต้องผ่านเกณฑ์การรับรองการจัดคุณภาพการศึกษาอิสลมที่อัลลอฮ มีบันทึกว่าผ่านหรือไม่ผ่าน อันนี้สำคัญ “นามมูฮำมัดกล่าวในที่สุด

วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

อิบตีดาอีย์คือประถม มุตาวัชซีต คือมัธยม

อิบตีดาอีย์คือประถม
มุตาวัชซีต คือมัธยม


ปัญหาการศึกษาที่รัฐเองมักจะมองว่า การศึกษาของคนมลายูมุสลิมปัญหา เป็นภาพลักษณ์ที่สังคมไทยในระบบศึกษา พยายามมองว่าการไม่รู้ภาษาไทย คือการไม่ได้รับการศึกษา หากเรียนศาสนาจัดเป็นคนไม่มีความรู้
ทั้งๆที่ความรู้มิใช่จำกัดเพี่ยงภาษาไทย ภาษาอื่นก็สามารถมีความรู้ได้ โดนเฉพาะภาษามลายูเป็นภาษาอันดับ 4 ของโลก รองจากภาษาสเปญ และมีชุมชนประเทศ 23 ประเทศที่ใช่ภาษามลายู 400 ล้านคน
สำหรับการศึกษาไทยนั้นเราเองไม่ได้เห็น ได้ยินประกาศเป็นทางการ การศึกษาบอกถึงความสำเร็จ นอกจากมีเด็กไทยในชุมชนเมืองโรงเรียนดังไปสอบแข่งได้รางวัลตีแผ่ข่าวมโหฬารทั้งๆที่เป็นเพี่ยงหยิกเดี่ยว การศึกษา ระดับ ป.3 ทั้งประเทศอ่านหนังสือไม่ได้ ......
การศึกษานั้น...
1. คือการคิดวิเคราะห์ของคนไทยยังไม่เป็น เพราะมีการจัดการเรียนการสอนเน้นการท่องจำมากกว่า....
2 คนไทยใช้อยู่ภายใต้ระบบ การศึกษาไทยเพื่อเป็นมนุษย์เงินดือน และเพื่อสนองการใช้โรงงาน การใช้นายทุน ไม่เคยคิดให้การศึกษาเพื่อสร้างคนสร้างงาน..........3 มองว่าการศึกษาคือการเรียนรู้ การคิด อ่าน วิเคราะห์เป็น
3.หากรู้แต่ภาษาไทย ก็คิดแบบไทยๆ ไม่กล้าคิดนอกกรอบกลายเป็นปัญหาจิตนิรันดร์
การก่อเกิดโรงเรียนอนุบาลประถมอิสลามนี้ บริบทของการจัดการศึกษาเพื่อชุมชนไทยแล้ว ยังเพื่อเป็นพลโลกมุสลิมที่ดี รัฐก็ดี มักจะห่วงก้าง โดยเฉพาะหน่วยงานของรัฐ พยายามขวางกั้น การจัดการเรียนการสอนอิสลามศึกษา การปฎิบัติไม่ได้สนองรัฐธรรมนูญที่ต้องการให้เอกชนจัดการศึกษา ถึงอย่างไรก๊ตามเราต้องการสร้างคน บริหารคนเพื่ออนาคต สร้างสังคมแทนการเรียนรู้ พึ่งตนเอง ต้องการคนใจอาสาใจอาสา .........
4 เป็นบริบทการศึกษาของชนมลายูมุสลิมที่มีภาษามลายูเป็นภาษาแม่........สำหรับคนใน 5จังหวัดมุสลิม สำหรับเยาวชนของเราในอนาคตภายใต้ปรัชญาการจัดการศึกษาอิสลาม “สร้างคนด้วยการศึกษา พัฒนาคนด้วยการศรัทธา” เป็นของขวัญที่เรานำมาใช้ในอุดมคติของเรา
5.การศึกษาในระดับประถม เป็นการสร้างพื้นฐานที่ดีให้กับเด็ก มีพื้นฐานที่ดีให้กับเด็ก ปัญหา..........
6 ภายใต้ที่รัฐ หรือหน่วยงานของรัฐที่มองการศึกษาว่ามีปัญหา เนื่องจากเด็กมลายูมุสลิม มีภาษาของตนเอง และไปเรียนรู้ภาษาอื่น เหมือนเอาคนไทยไปเรียนภาษาอังกฤษ กับฝรั่ง แน่นอนสู้เขาไม่ได้อยู่แล้ว
เฉกเช่นเดียวกัน เด็กมลายูมุสลิม .......8 ก็ดี ชี้ว่ามีภาษามลายู แน่นอนเด็กชายมาหะมะ ไปเรียนภาษาไทยสู้กับเด็กชายเอกชัยไม่ได้อยู่แล้ว หรือจะเอาเอกชัยมาเรียนภาษามลายูกับเด็กชายมาหะมะแน่นอนสู้เด็กชายมาหะมะไม่ได้เช่นกัน
ฐานการศึกษาที่ทำไม่ได้จากโรงเรียนของรัฐในชนบทในหลักสูตรมีกำหนดให้เรียนภาษาอังกฤษ แต่ไม่ได้สอนแบบ งูๆ ปลาๆ เพราะครูภาษาอังกฤษไม่มีปัญหามากเมื่อเด็กเรียนต่อมัธยม เข้า ม.1
หรือ ภาษาไทยของเด็กมลายู บางคนเขียนชื่อตนเองก็ไม่ได้ก็มีปัญหา ซึ่งจะอ่อนด้านการเรียนมาก โดยเฉพาะเด็กในชนบทเมื่อเข้ามาเรียนม.1 ในโรงเรียนอาลาวียะห์วิทยา หรือโรงเรียนเอกชนทั่วไปทำให้หน่วยงานการศึกษาของรัฐมองโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา ไม่ มีคุณภาพ
โรงเรียนเอกชนปอเนาะเองผู้บริหารหรือโต๊ะครู สร้างโรงเรียนเพื่อบานของศาสนาอิสลาม ต้องการเน้นสอนศาสนา ภาษาอาหรับ มลายู ต้องมารับผิดชอบภาษาไทย
ฐานการศึกษาของศาสนาเอง เด็กบางคนจบ ป.6 มา อ่านอัลกุรอานไม่ได้ละหมาดไม่เป็น ไม่ยอมเข้ามัสยิด ขาดการอบรมจริยธรรมศาสนา...........

9 ทำให้ต้องมารับผิดชอบเด็กเหล่านี้
การเรียนการศาสนามาเข้าชั้น 1 หรือ ป.1 อิตีดาอีย์ เด็กอายุ 12-13 ปี จบ
ป.6 ต้องมาเรียนศาสนา ภาษามลายู ภาอาหรับ สะกดคำใหม่ เพราะฐานของศาสนาไม่มี
หลักจิตวิทยา การ พัฒนาด้านวัย ร่างกายของเด็กไม่สอดคล้องเด็กมัธยม หรือ ม.1 ต้องมาเรียน ป.1 ของวิชาศาสนา

มิติใหม่การจัดการอิสสลาม


อิบตีดาอีย์ คือ ประถม
มิติใหม่การจัดการอิสสลาม



การจัดการศึกษาในหลักสูตรอิสลามศึกษามีผู้รู้ในวงการศึกษาจำนวนมาก ที่ย่อมให้ประสบการณ์การจัดการศึกษาในแนวทางศาสนาถูกทำลายวิญญาณของศาสนาอิสลาม ปล่อยปละละเลยโดยไม่ได้รับการแก้ไข เป็นปัญหาสำหรับชนมลายูมุสลิม
ดั่งจะเห็นความไม่สมดุลของระดับการศึกษาที่กล่าวมานั้น นักเรียนที่จบ ป.6....................ในกระบวนการจัดการศึกษาของ........มลายูมุสลิม
ปี 2543 เปิดสอนระดับประถมใช้หลักสูตรอิสลามศึกษาตอนต้น 3ปี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 หรือ อิบตีดาอีย์ 1- อิบตีดาอีย์ 3 ต้องมาเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ปีที่ 5 ปีที่6 เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตรอิสลาม 2540 ทางโรงเรียน........ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ปี2546 คลอดหลักสูตรอิสลามศึกษา 2546 มีระบบ 6-3-3 เปลี่ยนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อ ปี 2546 ได้นำหลักสูตรอิสลามศึกษามาวิเคราะห์จัดทำแบบเรียนเพื่อให้สอดคล้องแต่ละช่วงชั้น และสามารถเชื่อมโยง นักเรียนที่เรียนหลักสูตรนี้ในระดับ มูตาวัชซีเตาะห์ หรือ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้แล้ว.......... เดือนเมษา 2547 ได้จัดทำหนังสือแบบเรียนได้ช่วงชั้นสำหรับนักเรียน ประถมศึกษาปีที่ 1-6 หลักสูตรอิสลามศึกษาเป็นวิชาศาสนา ที่ประกอบ อัลกุรอาน , ตัฟซีร ,อากีดะห์, ฮาดิส ,ฟิกช์, ภาษามลายู ,ภาษาอาหรับ, และซีเราะห์ เป็นต้น
มิติให้การจัดการศึกษาแนวทางนี้ สำหรับนักเรียน 1 คน สามารถเรียน 2 หลักสูตร จบแล้วได้ประกาศนียบัตร 2 ใบ และนักเรียนสามารถมีพื้นฐานด้านภาษา 4 ภาษา คือ หลักสูตรแกนกลางต้องเรียน 2 ภาษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสำหรับหลักสูตรอิสลามนั้น ต้องเรียน คือภาษามลายู และภาษาอาหรับในการศึกษาของรัฐ เป็น ปอเนาะจัดการศึกษาระดับประถมได้ หรือ? แน่นอน เราเป็นโรงเรียน เอกชน เราเองได้ตระหนักอยู่เสมอว่ากลัวเด็กอ่านไม่ได้ แต่ตลอด เวลาจัดการ เรียนการสอน 10 ำมาสอนควบคู่ หลักสูตรสามัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นการนำหลักจิตวิทยา การศึกษาอย่างร้ายแรปีผ่านมาหากเข้าประกวดแข่งขันทักษะภาษาไทย เราเองก็ไม่ด้อยกว่าใคร สามารถดูได้จากผลการประกวดระดับกลุ่ม ระดับจังหวัด


ส่วนภาษามลายูนั้น เป็นภาษาที่ต้องทำสำหรับโรงเรียนเอกชนศาสนา เด็กจบไปแล้วชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 นอกจากจะอ่านภาษาไทยได้คล่องแล้ว เด็กจะต้องอ่านภาษามลายูได้คล่องด้วย



อิบตีดาอีย์ประถมไม่ใช่มัธยม


อิบตีดาอีย์ประถมไม่ใช่มัธยม

ชาวมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้จัดระบบการศึกษาเดิมมีศาสนาปอเนาะเป็นสูนย์เรียนรู้ ปัจจุบันนี้ก็มีหลักสูตรเกิดขึ้น และมีหลักสูตรอิสลามศีกษา การจัดการเรียนเดิมมีกีตาบและมีระบบชั้นเรียน ไม่มีวิชาที่ระบุจำนวนชั่วโมงเรียน จำนวนเกณฑ์การผ่าน ไม่มีระดับชั้นเรียน โต๊ะครูบางคนไม่เห็นด้วยระบบโรงเรียน โดยเฉพาะหลักสูตรยังแยกไม่ออก ดังจะเห็นได้ว่า โรงเรียน เอกชนสอนศาสนาจำนวนมากไม่ได้สนใจหลักสูตร มองการจัดการศึกษาอิสลามไม่ได้นึกถึงวัย หรือจิตวิทยา การเรียนรู้ของเด็ก
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม รองรับเด็กจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนรัฐบาล ซ้ำเด็กเหล่านี้ไม่มี พื้นฐาน ความรู้ ด้านอิสลามศึกษา และมีพ่อแม่จัดการเรียนการสอนที่บ้าน มัสยิด ตาดีกา
เด็กเหล่านี้เมื่อเข้าเรียน มัธยมศึกษาที่ 1 กลายเป็นปัญหาการจัดการศึกษา เพราะต้องมานั่ง เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ระดับอิบตีดาอีย์ ตั้งแต่ ที่มีอายุ 12-13 ปี แล้ว ซึ่งเป็นวัยที่จะต้องเรียนระดับมัธยม
หลักสูตรอิสลาม ระดับอิบตีดาอีย์ นำมาสอนควบคู่ หลักสูตรสามัญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถ้าพูดถึงหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ เป็นการนำใช้ผิดหลักจิตวิทยา การศึกษาอย่างร้ายแรง เด็กเหล่านี้มักจะเกิดความเบื่อหน่าย ต่อวิชาวิชาศาสนาเพราะต้องมาเรียน สะกดคำภาษามลายู ภาษาอาหรับ ในขณะที่ภาษาไทย ได้เรียนรู้มาแล้ว ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ปีที่ 6 เป็นเวลา 6 ปี ทำให้เด็กเหล่านี้ไม่สนใจวิชาศาสนา และสนใจจะเรียนวิชาสามัญมากกว่า
ปัญหาเหล่านี้ เกิดกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาแก้ไขๆไม่ได้ เด็กมาเรียนไม่มีพื้นฐาน บางคนมาไม่เหมือนกัน มองไม่เห็นแนวทางแก้ไข บางครั้งแก้ไขปลายเหตุ ตั้งแต่มี พ.ศ.2521 เป็นต้นมา และมาถึงวันนี้ในระดับโรงเรียนก็แก้ไม่ตก ปี 2535 นำหลักสูตรบูรณาการอิสลามศึกษา บางโรงเรียนประสบปัญหามาก เด็กไร้ทิศทางเพราะพื้นฐานศาสนาไม่มี

ปี 2540 – 2542 ทางคณะกรรมการมูลนิธิอาบูบักร์ ได้จัดกระบวนการปัญหาแนวทางมี......... เราจะต้องแก้ไข ถึงเวลาแล้วนี้ จำเป็นที่เราจะต้องแก้ไข ถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องเปิดระดับประถม ในโรงเรียนอาลาวียะห์วิทยา

ประถมอิสลามคืออิบตีดาอีย์


อิสลามพื้นฐาน
อิบตีดาอีย์ คือ พื้นการศึกษาอิสลามอิสลามเป็นการดำเนินชีวิต ที่ควบคลุมการศึกษา คือชีวิต

สังคมมลายูมุสลิมในชุมชนได้จัดระบบการศึกษาอิสลามเป็นฐานตั้งแต่อิสลามเข้ามาครั้งแรก”โดยมีมัสยิดหรือบาลาเซาะห์ เป็นศูนย์เรียนรู้นับมาตั้งแต่ 300 – 400 ปี มาแล้ว

การเข้ามา.....โรงเรียนในประเทศไทยมา 100 ปีนี้ ทำให้การศึกษาของไทย ที่เดิมมีวัด เป็นฐานของศาสนา เป็นที่เรียนรู้ก็ต้องยกโรงเรียนออกจากวัดโรงเรียนที่หลังวัดที่หน้า
การจัดการศึกษาปอเนาะ เป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชนนั้น ได้มีมา ควบคู่ชุมชน มุสลิมมานานนับเป็น 100 ปี
ในครั้งแรกการเข้ามาระบบการศึกษาที่ใช้ระบบโรงเรียนเกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรงในชุมชน ที่มีโต๊ะครู มีปอเนาะ มีบาลาเซาะห์ เป็นศูนย์เรียนรู้ ของชุมชน เพื่อการจดทะเบียน ขั้นการศึกษาของชุมชนมลายู มา.......รับระบบโรงเรียนและมรการจัด การเรียนการสอน ขึ้น และระบบการเรียนระยะเริ่มแรก เรียกว่าอิบตีดาอีย์ ในระดับกลางก็มี มตวัธซิด และช่วงปลายเรียกว่าซานาวีย์
ด้วยระบบโรงเรียนได้มาจัดระบบการศึกษาให้เกิดหลักสูตรการเรียนการสอนขึ้น

จากเดิมการจัดการศึกษา ของประเทศไทยได้มีระบบหลักสูตรใช้แต่หนังสือ กีตตับ เด็กที่เข้าเรียนโรงเรียนรัฐบาล ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ปีที่ 6 ไม่ได้เรียนศาสนา เป็นปัญหาของการศึกษาชุมชนมลายูมุสลิมในภาคใต้เป็นอย่างมาก
วันนี้การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่ระดับประถมสำหรับวิชาศาสนา จากเดิมเด็กมุสลิมได้อยูเปล่า ไม่ได้เรียนศาสนา ในวันนี้ ประถมอาลาวียะห์ ได้รวมกันนำเสนอมิติใหม่การศึกษา ระดับประถมเรียนควบคู่อิบตีดาอีย์