วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

อิบตีดาอีย์คือประถม มุตาวัชซีต คือมัธยม

อิบตีดาอีย์คือประถม
มุตาวัชซีต คือมัธยม


ปัญหาการศึกษาที่รัฐเองมักจะมองว่า การศึกษาของคนมลายูมุสลิมปัญหา เป็นภาพลักษณ์ที่สังคมไทยในระบบศึกษา พยายามมองว่าการไม่รู้ภาษาไทย คือการไม่ได้รับการศึกษา หากเรียนศาสนาจัดเป็นคนไม่มีความรู้
ทั้งๆที่ความรู้มิใช่จำกัดเพี่ยงภาษาไทย ภาษาอื่นก็สามารถมีความรู้ได้ โดนเฉพาะภาษามลายูเป็นภาษาอันดับ 4 ของโลก รองจากภาษาสเปญ และมีชุมชนประเทศ 23 ประเทศที่ใช่ภาษามลายู 400 ล้านคน
สำหรับการศึกษาไทยนั้นเราเองไม่ได้เห็น ได้ยินประกาศเป็นทางการ การศึกษาบอกถึงความสำเร็จ นอกจากมีเด็กไทยในชุมชนเมืองโรงเรียนดังไปสอบแข่งได้รางวัลตีแผ่ข่าวมโหฬารทั้งๆที่เป็นเพี่ยงหยิกเดี่ยว การศึกษา ระดับ ป.3 ทั้งประเทศอ่านหนังสือไม่ได้ ......
การศึกษานั้น...
1. คือการคิดวิเคราะห์ของคนไทยยังไม่เป็น เพราะมีการจัดการเรียนการสอนเน้นการท่องจำมากกว่า....
2 คนไทยใช้อยู่ภายใต้ระบบ การศึกษาไทยเพื่อเป็นมนุษย์เงินดือน และเพื่อสนองการใช้โรงงาน การใช้นายทุน ไม่เคยคิดให้การศึกษาเพื่อสร้างคนสร้างงาน..........3 มองว่าการศึกษาคือการเรียนรู้ การคิด อ่าน วิเคราะห์เป็น
3.หากรู้แต่ภาษาไทย ก็คิดแบบไทยๆ ไม่กล้าคิดนอกกรอบกลายเป็นปัญหาจิตนิรันดร์
การก่อเกิดโรงเรียนอนุบาลประถมอิสลามนี้ บริบทของการจัดการศึกษาเพื่อชุมชนไทยแล้ว ยังเพื่อเป็นพลโลกมุสลิมที่ดี รัฐก็ดี มักจะห่วงก้าง โดยเฉพาะหน่วยงานของรัฐ พยายามขวางกั้น การจัดการเรียนการสอนอิสลามศึกษา การปฎิบัติไม่ได้สนองรัฐธรรมนูญที่ต้องการให้เอกชนจัดการศึกษา ถึงอย่างไรก๊ตามเราต้องการสร้างคน บริหารคนเพื่ออนาคต สร้างสังคมแทนการเรียนรู้ พึ่งตนเอง ต้องการคนใจอาสาใจอาสา .........
4 เป็นบริบทการศึกษาของชนมลายูมุสลิมที่มีภาษามลายูเป็นภาษาแม่........สำหรับคนใน 5จังหวัดมุสลิม สำหรับเยาวชนของเราในอนาคตภายใต้ปรัชญาการจัดการศึกษาอิสลาม “สร้างคนด้วยการศึกษา พัฒนาคนด้วยการศรัทธา” เป็นของขวัญที่เรานำมาใช้ในอุดมคติของเรา
5.การศึกษาในระดับประถม เป็นการสร้างพื้นฐานที่ดีให้กับเด็ก มีพื้นฐานที่ดีให้กับเด็ก ปัญหา..........
6 ภายใต้ที่รัฐ หรือหน่วยงานของรัฐที่มองการศึกษาว่ามีปัญหา เนื่องจากเด็กมลายูมุสลิม มีภาษาของตนเอง และไปเรียนรู้ภาษาอื่น เหมือนเอาคนไทยไปเรียนภาษาอังกฤษ กับฝรั่ง แน่นอนสู้เขาไม่ได้อยู่แล้ว
เฉกเช่นเดียวกัน เด็กมลายูมุสลิม .......8 ก็ดี ชี้ว่ามีภาษามลายู แน่นอนเด็กชายมาหะมะ ไปเรียนภาษาไทยสู้กับเด็กชายเอกชัยไม่ได้อยู่แล้ว หรือจะเอาเอกชัยมาเรียนภาษามลายูกับเด็กชายมาหะมะแน่นอนสู้เด็กชายมาหะมะไม่ได้เช่นกัน
ฐานการศึกษาที่ทำไม่ได้จากโรงเรียนของรัฐในชนบทในหลักสูตรมีกำหนดให้เรียนภาษาอังกฤษ แต่ไม่ได้สอนแบบ งูๆ ปลาๆ เพราะครูภาษาอังกฤษไม่มีปัญหามากเมื่อเด็กเรียนต่อมัธยม เข้า ม.1
หรือ ภาษาไทยของเด็กมลายู บางคนเขียนชื่อตนเองก็ไม่ได้ก็มีปัญหา ซึ่งจะอ่อนด้านการเรียนมาก โดยเฉพาะเด็กในชนบทเมื่อเข้ามาเรียนม.1 ในโรงเรียนอาลาวียะห์วิทยา หรือโรงเรียนเอกชนทั่วไปทำให้หน่วยงานการศึกษาของรัฐมองโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา ไม่ มีคุณภาพ
โรงเรียนเอกชนปอเนาะเองผู้บริหารหรือโต๊ะครู สร้างโรงเรียนเพื่อบานของศาสนาอิสลาม ต้องการเน้นสอนศาสนา ภาษาอาหรับ มลายู ต้องมารับผิดชอบภาษาไทย
ฐานการศึกษาของศาสนาเอง เด็กบางคนจบ ป.6 มา อ่านอัลกุรอานไม่ได้ละหมาดไม่เป็น ไม่ยอมเข้ามัสยิด ขาดการอบรมจริยธรรมศาสนา...........

9 ทำให้ต้องมารับผิดชอบเด็กเหล่านี้
การเรียนการศาสนามาเข้าชั้น 1 หรือ ป.1 อิตีดาอีย์ เด็กอายุ 12-13 ปี จบ
ป.6 ต้องมาเรียนศาสนา ภาษามลายู ภาอาหรับ สะกดคำใหม่ เพราะฐานของศาสนาไม่มี
หลักจิตวิทยา การ พัฒนาด้านวัย ร่างกายของเด็กไม่สอดคล้องเด็กมัธยม หรือ ม.1 ต้องมาเรียน ป.1 ของวิชาศาสนา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น